สำนวนไทย

น้ำผักบุ้งไป น้ำสายบัวมา

หมายถึง มีน้ำใจตอบแทนกัน

 หมายเหตุ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • สำนวนไทย: น้ำผักบุ้งไป น้ำสายบัวมา หมายถึง?, หมายถึง มีน้ำใจตอบแทนกัน ธรรมชาติ น้ำ

 สำนวนไทยที่คล้ายกัน

กระดี่ได้น้ำ กวนน้ำให้ขุ่น คลื่นใต้น้ำ คว้าน้ำเหลว นกรู้ น้ำขุ่นไว้ใน น้ำใสไว้นอก น้ำท่วมทุ่งผักบุ้งโหรงเหรง ปั้นน้ำเป็นตัว มะนาวไม่มีน้ำ เลือดข้นกว่าน้ำ ได้น้ำได้เนื้อ ไปน้ำขุ่น ๆ

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น