สำนวนไทย

ลางเนื้อชอบลางยา

หมายถึง ของสิ่งเดียวกัน แต่คนหลาย ๆ คนจะชอบของชิ้นนี้มากน้อยไม่เท่ากัน เพราะรสนิยมของแต่ละคนไม่เหมือนกัน

หมายถึง ของบางสิ่งอาจถูก เข้ากันได้ดี เหมาะกับคนหนึ่ง แต่อาจไม่เหมาะกับอีกคน

พจนานุกรมไทย ลางเนื้อชอบลางยา หมายถึง:

  1. น. ยาอย่างเดียวกัน ถูกกับคนหนึ่ง แต่ไม่ถูกกับอีกคนหนึ่ง; (สํา) ของสิ่งเดียวกัน ถูกกับคนหนึ่ง แต่ไม่ถูกกับอีกคนหนึ่ง.

 หมายเหตุ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • สำนวนไทย: ลางเนื้อชอบลางยา หมายถึง?, หมายถึง ของสิ่งเดียวกัน แต่คนหลาย ๆ คนจะชอบของชิ้นนี้มากน้อยไม่เท่ากัน เพราะรสนิยมของแต่ละคนไม่เหมือนกัน คำนาม คน
  • สำนวนไทย: ลางเนื้อชอบลางยา หมายถึง?, หมายถึง ของบางสิ่งอาจถูก เข้ากันได้ดี เหมาะกับคนหนึ่ง แต่อาจไม่เหมาะกับอีกคน คำนาม คน

 สำนวนไทยที่คล้ายกัน

กินเส้น ก่อร่างสร้างตัว ขมเป็นยา คลับคล้ายคลับคลา นกกระปูด ปากตำแย ปากปลาร้า ยาหม้อใหญ่ ลม ๆ แล้ง ๆ หนอนหนังสือ ใจหายใจคว่ำ ได้น้ำได้เนื้อ

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น